myRSS by MyReadyWeb.com http://www.myreadyweb.com/ ข้อมูลล่าสุดของบทความ en-us ฟรี!! เว็บสำเร็จรูป สร้างเว็บ ทําเว็บ สร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ รับทําเว็บไซต์ ทำเว็บ การสร้างเว็บไซต์ http://www.myreadyweb.com/ http://www.myreadyweb.com/images/front/logo-print.jpg 240 66 ทําเว็บ สร้างเว็บ ด้วยสุดยอดระบบ เว็บสำเร็จรูป การสร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ จะเป็นเรื่องง่ายๆ ฟรี สร้างเว็บ ทำเว็บ สร้างเว็บไซต์ ที่ MyReadyWeb.com ความปลอดภัยในการทำงานนั่งร้าน http://www.xn--12cbpb1gbha8ddn1a1ek7ab0dpf1iqita7lna1a.com/article/topic-8552.html <h1> <span style="font-size:16px;"><span class="style73"><span class="style81"><font color="#ff3300" face="Arial"><font color="#333333"><font color="#333333"><span class="style25"><strong>ความปลอดภัยในการทำงานนั่งร้าน</strong> </span></font></font></font></span></span></span></h1> <span class="style73"><span class="style81"><font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333"><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong><span class="style23">ลักษณะ ของงานก่อสร้างส่วนใหญ่ จะเป็นการทำงานบนที่สูงและงานใต้ดินที่มีระดับชั้นความลึกต่างๆ ซึ่งงานเหล่านี้จำเป็นที่จะต้องใช้นั่งร้านในการก่อสร้างเพื่อให้แล้วเสร็จ ผู้ใช้แรงงาน ช่างหัวหน้างาน ตลอดจนวิศวกรที่ทำงานด้านการก่อสร้าง จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการทำงานที่สูงโดยไม่ใช้นั่งร้านด้วยเหตุนี้เราจึง ควรมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานนั่งร้านให้มากขึ้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัย จากสถิติการประสบอันตรายเนื่องจากการทำงาน ปี 2549 ของสำนักงานกองทุนเงินทดแทน พบว่า จำนวนผู้ประสบอันตรายตกจากที่สูงมีมากถึง 9,362 ราย จากจำนวนผู้ประสบอันตราย 204,257 ราย<br /> ประเภทของนั่งร้าน<br /> <br /> <strong>นั่งร้านที่ใช้โดยทั่วไป แบ่งออกเป็น 6 ประเภท</strong> </span> </font></font></font></font></span></span> <ol class="style23"> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">นั่งร้านไม้ไผ่&nbsp; </font></font></font></font></li> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">นั่งร้านเสาเรียงเดี่ยว </font></font></font></font></li> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">นั่งร้านเสาเรียงคู่ </font></font></font></font></li> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">นั่งร้านแบบใช้ท่อเหล็ก </font></font></font></font></li> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">นั่งร้านแบบแขวน </font></font></font></font></li> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">นั่งร้านชนิดเคลื่อนที่ได้ </font></font></font></font></li> </ol> <p class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333"><strong>ข้อพิจารณาในการเลือกนั่งร้าน</strong><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นั่งร้านแต่ละประเภทย่อมมีความเหมาะสมในการใช้งานเฉพาะอย่างตามสภาพการก่อ สร้าง ผ้ำเนินการก่อสร้างจะต้องเลือกประเภทให้เหมาะสมกับแต่ละงาน<br /> <br /> <strong>เพื่อความปลอดภัยในการใช้นั่งร้านควรพิจารณาดังนี้</strong> </font></font></font></font></p> <ol class="style23"> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">สภาพสถานที่ และความเหมาะสมกับสถานที่ </font></font></font></font></li> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">น้ำหนักบรรทุกที่ใช้งาน </font></font></font></font></li> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ความประหยัด </font></font></font></font></li> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ความสะดวกในการติดตั้ง และรื้อถอน </font></font></font></font></li> </ol> <p class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333"><strong>อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล</strong><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เข็มขัดนิรภัยและสายช่วยชีวิต (Safety Belt &amp; Lift Line) เป็นอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่จำเป็นสำหรับผู้ที่ทำงานบนนั่งร้าน และผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการที่จะตกลงมาจากที่สูง ผู้ที่ปฏิบัติงานบนที่สูงจะต้องสวมใส่สายรั้งนิรภัยหรือเข็มขัดนิรภัยและสาย ช่วยชีวิตหรือสายชูชีพ สายรั้งนิรภัยควรจะยึดติดกับจุดยึดที่มั่นคงอยู่กับที่ ในระดับที่อยู่เหนือขึ้นไปจากพื้นที่ที่ทำงาน สายช่วยชีวิตไม่ควรมีความยาวเกิน 2 เมตร และเป็นอิสระจากชุดลูกรอกและเชือกสำหรับหิ้วแขวนรับภาระอื่นๆ สายช่วยชีวิตที่ยึดติดกับเข็มขัดจะต้องมีความยาวไม่เกินกว่า 1.20 เมตร จุดทำการยึดที่เหมาะสมจะถูกนำขึ้นมาพร้อมกับส่วนโครงสร้างของการติดตั้งนั้น อันจะทำให้ใช้งานสายช่วยชีวิตเชือกและชิ้นส่วนรั้งยึดอื่นๆ ได้อย่างปลอดภัย<br /> <br /> <strong>มาตรฐานนั่งร้าน</strong><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในส่วนของนั่งร้านทั่วไปนั้น จำเป็นต้องมีแบบที่เป็นมาตรฐานซึ่งคำนึงถึงความปลอดภัยที่จะใช้งานเป็นหลัก นั่งร้าน จึงควรมีลักษณะมาตรฐาน ดังนี้ </font></font></font></font></p> <ol> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">สำหรับนั่งร้านที่ทำด้วยไม้จะออกแบบเพื่อรับน้ำหนักไว้สูงสุดไม่เกิน 4 เท่า ของน้ำหนักที่จะใช้งานจริง </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">การใช้นั่งร้านนั้นมีข้อควรระวังคือ ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ชนิดเดียวกันและไม่ควรใช้แบบผสมผสานกัน </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">นั่งร้านที่สูงกว่า 2 เมตร จะต้องมีราวกันตก </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">นั่งร้านที่สร้างด้วยไม้จะต้องใช้ไม้ที่ไม่ผุ เปื่อย และไม่มีรอยร้าวหรือ ชำรุดอื่นๆ ที่จะทำให้ขาดความแข็งแรงทนทาน </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">นั่งร้านที่เป็นโลหะ ต้องมีจุดคราก (Yield Point) ไม่น้อยกว่า 2,400 กก./ ตาราง ซม. และสามารถรับน้ำหนักบรรทุกได้ไม่น้อยกว่าสองเท่าของน้ำหนักของการใช้งาน </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">โครงนั่งร้านต้องมีการยึดโยง ค้ำยัน หรือตรึงกับพื้นดิน หรือส่วนของงานก่อสร้างเพื่อป้องกันมิให้เซหรือล้ม </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ราวกันตก ต้องมีความสูงไม่น้อยกว่า 90 ซม. และไม่เกิน 1.10 เมตร จากพื้นนั่งร้านตลอดแนวยาวด้านนอกของนั่งร้าน ยกเว้นเฉพาะช่วงที่จำเป็นเพื่อขนถ่ายสิ่งของ และนั่งร้านเสาเรียงเดี่ยว </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ต้องจัดให้มีบันไดภายในของนั่งร้านและมีความลาดเอียงไม่เกิน 45 องศา ยกเว้นนั่งร้านเสาเดี่ยว </font></font></font></font></li> <li> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333"><span class="style23">ต้องออกแบบเผื่อไว้ให้นั่งร้านสามารถรับ น้ำหนักผ้าใบสังกะสี ไม้แผ่น หรือวัสดุอื่นที่คล้ายกัน นอกจากนี้จะต้องมีการบำรุงดูแลรักษาสภาพการใช้งานของนั่งร้านอย่างสม่ำเสมอ หากมีพายุ แผ่นดินไหว หรือเหตุที่ทำให้นั่งร้านเสียสมดุลต้องทำการซ่อมหรือปรับปรุงแล้วให้มีสภาพ ที่ปลอดภัยและพร้อมใช้งานและที่สำคัญ คือพนักงานทุกคนจะต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลด้วยทุก ครั้งที่ปฏิบัติงาน </span></font></font></font></font><br /> &nbsp;</li> </ol> <p> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333"><span class="style22"><strong>อันตรายที่มักเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานในการใช้นั่งร้าน</strong></span><br /> <br /> <span class="style23"><strong>การพังของนั่งร้าน สาเหตุเกิดจาก</strong> </span></font></font></font></font></p> <ol> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">รับน้ำหนักการบรรทุกมากเกินไปเพราะคนงานขึ้นไปมากเกินหรือกองวัสดุไว้มากเกินความจำเป็น </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">วัสดุที่นำมาใช้ทำนั่งร้านไม่คงทนแข็งแรง ไม่ได้มาตรฐาน เช่น ไม้เก่า เนื้อยุ่ย มีตาไม้ หรือเหล็กคดงอ และเป็นสนิม </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">การประกอบติดตั้งไม่ถูกต้อง </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ฐานรองรับนั่งร้านไม่แข็งแรง </font></font></font></font></li> </ol> <p class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333"><strong>คนงานตกลงมาจากนั่งร้าน สาเหตุเกิดจาก </strong></font></font></font></font></p> <ol> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">คนงานประมาทเลินเล่อ เดินสะดุดวัสดุบนนั่งร้านแล้วพลัดตกลงมา </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">อาจจะเป็นโรคปัจจุบันทันด่วน เช่น เป็นลม หน้ามืด </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">เกิดจากการพัดของลมอย่างแรง เช่น ขณะทำงาน มีพายุฝนตก ลมพัดแรง พัดคนงานตกลงมา </font></font></font></font></li> </ol> <p class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333"><strong>แนวทางการป้องกันการเกิดอันตรายจากการทำงานนั่งร้าน</strong> </font></font></font></font></p> <ol> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">กำหนดน้ำหนักบรรทุกของนั่งร้านแต่ละชนิด จำกัดจำนวนคนงาน กำหนดขอบเขตจำนวนการกองวัสดุบนนั่งร้าน </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ตรวจสอบวัสดุที่นำมาประกอบถ้าเป็นไม้ต้องเป็นไม้ ที่ไม่ผุเปื่อยหรือไม่มีรอยแตกร้าวรวมถึงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางความหนาต้อง ได้มาตรฐาน ถ้าเป็นเหล็กจะต้องไม่คดงอ และเป็นสนิม </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">การประกอบติดตั้ง ต้องเป็นไปตามที่บริษัทผู้ผลิตแนะนำ หรือเป็นไปตามที่วิศวกรคำนวณออกแบบ </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ปรับปรุงคุณภาพฐานรองรับนั่งร้านให้มั่นคงแข็งแรง </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">อบรมให้ความรู้กับคนงานที่ปฏิบัติงานบนนั่งร้าน </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ตรวจสุขภาพคนงานว่ามีโรคประจำตัวหรือไม่ </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ติดตั้งราวกันตก และให้คนงานสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล </font></font></font></font></li> <li class="style23"> <font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ในขณะมีพายุฝนตกหนักห้ามมิให้คนงานทำงานบนนั่งร้าน </font></font></font></font></li> </ol> <p style="text-align: right;"> <br /> <strong><font color="#ff3300" face="Arial" size="4"><font size="2"><font color="#333333"><font color="#333333">ความรู้จาก สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน(ประเทศไทย)</font></font></font></font></strong></p> Mon, 30 Jan 2012 22:38:00 +0700 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการออกแบบนั่งร้าน http://www.xn--12cbpb1gbha8ddn1a1ek7ab0dpf1iqita7lna1a.com/article/topic-8551.html <h1> <span style="font-size:16px;"><strong>ข้อควรรู้เกี่ยวกับการออกแบบนั่งร้าน</strong></span></h1> <p> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; งานก่อสร้างโดยทั่วไปเน้นหนักเรื่องของการรับน้ำหนักที่ปลอดภัยโดยทั่วไป วิศวกรจะคำนึงและออกแบบการรับน้ำหนักความปลอดภัย แต่เฉพาะในเรื่องตัวอาคารเท่านั้น ส่วนประกอบในการใช้เครื่องมือเครื่องใช้ที่ส่วนประกอบ เพื่อเริ่มต้นในการทำงานสำหรับการให้เกิดเป็นอาคารขึ้นมาได้อยู่นอกเหนือ ความรับผิดชอบของวิศวกร โดยทั่วไปดังนั้นส่วนประกอบเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้เพื่อการดำเนินการดังกล่าว จึงเป็นเหตุให้เกิดอันตรายขึ้น ดังนั้นมาตรการของรัฐ ฯ จึงได้กำหนดขึ้นเป็นกฎหมายเพื่อบังคับใช้แก่นายจ้างโดยทั่วไปสำหรับกฎหมาย ดังกล่าวซึ่งออกประกาศบังคับใช้ในรูปของกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงแรงงานและ สวัสดิการสังคม ว่าด้วยเรื่องความปลอดภัยในการทำงาน งานก่อสร้าง และยังมีกฎหมายอื่นๆ อีกหลายเรื่องซึ่งใช้เกี่ยวข้องกันอยู่</p> <p style="text-align: left"> <strong>การรับน้ำหนัก</strong></p> <p> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; น้ำหนักไม่ว่าจะเป็นตัวอาคารหรือส่วนประกอบเครื่องมือ เครื่องใช้เพื่อการก่อสร้างให้เกิดเป็นตัวอาคารขึ้น คำว่า &ldquo;น้ำหนัก&rdquo; จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องคิดถึงก่อนเพื่อความปลอดภัยในการดำเนินการทุก ขั้นตอนเกี่ยวข้องกับวัสดุ และพื้นดิน ซึ่งเป็นส่วนที่จะต้องรองรับน้ำหนักดังกล่าว สิ่งที่สำคัญ พื้นดินหรือวัสดุที่ใช้เป็นส่วนประกอบในการดำเนินการงานนั้น จะต้องรับน้ำหนักให้มีความปลอดภัยได้อย่างไร</p> <p style="text-align: left"> <strong>น้ำหนัก</strong></p> <p> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คำว่า &ldquo;น้ำหนัก&rdquo; เป็นคำที่มีความหมายรวม ซึ่งเมื่อดำเนินการแล้วจะต้องมีความปลอดภัยโดยไม่มีการหักพัง ดังนั้นน้ำหนักเป็นเรื่องที่ทุกคนจะต้องทราบความหมายในเรื่องของ SAFETY FACTOR (น้ำหนักที่ปลอดภัย)<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. &nbsp;น้ำหนักบรรทุก คือ น้ำหนักที่จะเพิ่มขึ้นกับสิ่งก่อสร้าง เช่น คน สิ่งของ หรือวัสดุอื่นๆ ที่นำขึ้นไปอยู่บนพื้นหรือบนอาคาร<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. &nbsp;น้ำหนักบรรทุกบนตัวอาคาร คือ น้ำหนักที่วิศวกรจะกำหนดให้รับน้ำหนักได้ตามที่กำหนด ซึ่งเราเรียกว่า Live Load<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. &nbsp;น้ำหนักของตัวอาคาร คือ น้ำหนักรวมโครงสร้างที่ประกอบเป็นส่วนของอาคารทั้งหมด ซึ่งเราเรียกว่า DeadLoad<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.&nbsp;การรับน้ำหนักของพื้น หมายถึง น้ำหนักของตัวอาคารที่กดลงพื้นดินที่พื้นดินสามารถรับน้ำหนักได้ที่ปลอคภัย ซึ่งเราเรียกว่า Bearing Capacity<br /> &nbsp;</p> <p style="text-align: left"> <strong>อัตราส่วนความปลอดภัย (SAFETY FACTOR) ของการออกแบบ การรับน้ำหนัก สำหรับในเรื่องของการออกแบบการก่อสร้าง</strong></p> <p> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ก. &nbsp;พื้นดินเป็นส่วนหนึ่งในการออกแบบ ซึ่งให้ค่าความปลอดภัยที่กำหนดเป็น SAFETY FACTOR<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ข. &nbsp;วัสดุในการก่อสร้างแต่ละชนิดที่ต้องกำหนด SAFETY FACTOR<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค. &nbsp;พื้นภูมิประเทศ(Location)พื้นที่ที่จะดำเนินการก่อสร้าง ซึ่งในแต่ละท้องถิ่นมีผลกระทบจากภัยธรรมชาติเช่น น้ำท่วม ภูเขาไฟ พายุ ซึ่งกำหนด SAFETY FACTOR ได้แตกต่างกัน<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ดังนั้น&nbsp; สิ่งที่ควรจะทราบในหลักการใหม่ ๆ เช่น ความรู้เบื้องต้นของเจ้าหน้าที่ที่จะตรวจความปลอดภัยในงานก่อสร้าง เช่น นั่งร้าน หรือส่วนประกอบอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับตัวอาคาร ซึ่งจะต้องรู้เป็นพื้นฐานเบื้องต้น&nbsp;<br /> <br /> <strong>นั่งร้านที่กฎหมายกำหนดไว้ในการสร้างนั่งร้านแบ่งออกเป็น 2 ชนิด<br /> </strong><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. &nbsp;นั่งร้านที่ออกแบบโดยวิศวกรโยธา ก.ว.ได้กำหนดเป็นกฎหมายไว้ โดยให้อำนาจแก่วิศวกรเป็นผู้ออกแบบนั่งร้าน เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อการก่อสร้างได้ อย่างน้อยวิศวกรผู้นั้นจะต้องมีรูปแบบนั่งร้าน และรายการคำนวณไว้ให้เจ้าพนักงานตรวจความปลอดภัย เพื่อตรวจสอบ<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. &nbsp;สำหรับนั่งร้านทีไม่มีวิศวกรเป็นผู้ออกแบบ กฎหมายได้กำหนดให้ใช้วัสดุ ตลอดจนกรรมวิธีต่าง ๆ ให้นายจ้างปฏิบัติเพื่อการสร้างนั่งร้าน<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. &nbsp;สำหรับนั่งร้านที่จะใช้งานสูงเกินกวjา 21 เมตรขึ้นไป เป็นหน้าที่ของนายจ้างจะต้องดำเนินการจัดหาวิศวกรโยธา ซึ่ง ก.ว.กำหนดการออกแบบนั่งร้านให้อย่างน้อยจะต้องมีรูปแบบ และรายละเอียดคำนวณการรับน้ำหนักของนั่งร้าน และรายละเอียดประกอบแบบนั่งร้าน เพื่อให้นายจ้างพักงานตรวจสอบได้ เช่นเดียวกับข้อ 1.<br /> &nbsp;</p> <p style="text-align: left"> <strong>รายละเอียดทั่วไปประกอบแบบนั่งร้าน</strong></p> <p style="text-align: left"> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตามกฎหมาย วิศวกรหรือผู้ออกแบบจะต้องกำหนดรายละเอียดประกอบแบบนั่งร้านให้ครบถ้วน ตามกฎหมายนั่งร้านกำหนดไว้ กล่าวคือ การรับน้ำหนักบันได ราวบันได ชานพัก สิ่งปิดล้อมนั่งร้าน ผ้ารองรับใต้นั่งร้านกันของตก ส่วนยึดโยงอื่น ๆ เป็นต้น<br /> <br /> <strong>การใช้ลูกจ้างทำงานบนนั่งร้าน หรือใต้นั่งร้าน</strong></p> <p style="text-align: left"> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อันตรายที่จะเกิดขึ้นกับลูกจจ้าง คนงาน ที่ทำงานอยู่บนนั่งร้าน หรือใต้นั่งร้านในเรื่องวัสดุตกจากที่สูง เช่น ไม้ เศษไม้ หิน วัสดุอื่น ๆ ตลอดจนเครื่องมือช่าง หรือเครื่องมือกล อาจจะตกจากที่สูงกว่าที่ลูกจ้างทำงานอยู่ ทำให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายของลูกจ้าง ดังนั้นการปฏิบัติงานของลูกจ้างตลอดเวลา นายจ้างจะต้องจัดหมวกนิรภัย หรือรองเท้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ลูกจ้างไว้ เรียกว่า &ldquo;อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล&rdquo; ซึ่งกำหนดเป็นมาตรฐานให้ใช้ตามลักษณะและประเภทของงานที่กฎหมาย กำหนด<br /> <br /> <strong>การซ่อมนั่งร้าน</strong></p> <p style="text-align: left"> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นั่งร้านโดยทั่วไปเราจะพบเห็นว่า บางส่วนของเสานั่งร้านจะทรุดเอียงบางส่วนอาจจะแตกราวบางส่วนอาจจะขาดความ มั่นคง เนื่องจากวัสดุ เช่น ปอผุ หรือเปื่อย เป็นต้น จึงเป็นเหตุทำให้นั่งร้านขาดความแข็งแรง การซ่อมนั่งร้านและการหยุดการใช้นั่งร้าน จะต้องจัดให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้อง<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พื้นฐานรับเสา นั่งร้านที่ถ่ายน้ำหนักลงพื้นดิน อาจทรุดต่ำลงถ้าเป็นเสานั่งร้านโลหะก็ควรที่จะใช้แม่แรง ดีดยกขึ้นแล้วต่อเสานั่งร้านให้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของนั่งร้านให้ได้ระดับดัง เดิม<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; วัสดุอื่น ๆ เช่น ไม้ ปอ ที่แตกร้าว หรือผุ จะต้องคัดออกเปลี่ยนใหม่ให้มีความแข็งแรง เหมือนนั่งร้านใหม่<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อุปกรณ์ต่าง ๆ ของนั่งร้านที่ชำรุด เช่น สิ่งปกปิดล้อมนั่งร้าน พื้นรองรับของกันตกจากที่สูงใต้นั่งร้าน ราวทางเดินบนนั่งร้าน ฯลฯ ที่ชำรุดเสียหายไปจะต้องจัดเปลี่ยนใหม่โดยทันที<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การรักษาความสะอาดบนนั่งร้าน ตลอดจนการบรรทุกน้ำหนักบนนั่งร้าน จะต้องดูแลรักษา เมื่อเลิกงานในแต่ละวันให้สะอาด น้ำหนักบรรทุกบนนั่งร้านจะต้องบรรทุกได้ไม่เกิน 150 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และจะต้องไม่เป็นน้ำหนักเฉลี่ยซึ่งวางไว้เป็นช่วง<br /> <br /> <strong>น้ำหนักจร</strong></p> <p style="text-align: left"> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; น้ำหนักจรที่เกี่ยวข้องกับนั่งร้าน หมายถึง การเกิดแรงจากพายุที่ทำให้วัสดุอาจพังทลายได้ หรืออันตรายจากภัยธรรมชาติเช่น ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว ซึ่งจะต้องไม่ให้มีลูกจ้างคนงานอยู่ปฏิบัติงานในขณะนั้น<br /> <br /> <strong>ข้อพิจารณาในการออกแบบนั่งร้าน</strong></p> <p style="text-align: left"> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นั่งร้านแต่ละประเภทยอมมีความเหมาะสมในการใช้งานเฉพาะอย่างตามสภาพการก่อ สร้าง ผู้ดำเนินการก่อสร้างจะต้องเลือกประเภทให้เหมาะสมกับแต่ละงาน เช่น นั่งร้านเสาเรียงเดี่ยว นั่งร้านเสาเรียงคู่ นั่งร้านชนิดแขวน นั่งร้านสำหรับงานซ่อมแซม เป็นต้น<br /> <br /> <strong>การพิจารณาออกแบบหรือเลือกใช้นั่งร้าน มีข้อควรพิจารณาคือ<br /> </strong><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. &nbsp;สภาพสถานที่ และความเหมาะสมกับสถานที่<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. &nbsp;น้ำหนักบรรทุกที่ใช้งาน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. &nbsp;ความสะดวกในการติดตั้ง และรื้อถอน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. &nbsp;ความปลอดภัย<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. &nbsp;ความประหยัด<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในปัจจุบันมีประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยในการทำงาน ได้ออกประกาศกำหนดให้การออกแบบนั่งราน ทำโดยผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามที่คณะกรรมการควบคุมประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ตามพระราชบัญูญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2512 กำหนด หากมิได้ออกแบบโดยผู้ที่ได้รับใบอนุญาตดังกล่าว ผู้ดำเนินการก่อสร้างจะต้องก่อสร้างนั่งร้านให้เป็นไปตามข้อกำหนดขั้นต่ำ ตามประกาศที่กระทรวงมหาดไทย กำหนดไว้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในส่วนของนั่งร้านทั่ว ๆ ไปนั้น จำเป็นต้องมีแบบที่มาตรฐาน ซึ่งคำนึงถึงความปลอดภัยที่จะใช้งานเป็นหลัก นั่งร้านเหล่านั้นควรมีลักษณะ ดังนี้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - &nbsp;สำหรับนั่งร้านที่ทำด้วยไม้ การออกแบบเพื่อรับน้ำหนัก ควรออกแบบไว้สูงสุด 4 เท่าของน้ำหนักที่จะใช้งานจริง<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - &nbsp;การใช้นั่งร้านนั้นไม่ว่าจะใช้งานเมื่อใดก็ตาม ให้ใช้อุปกรณ์ชิ้นส่วนชนิดเดียวกัน อย่าใช้ผสมผสานกัน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; - &nbsp;ฐานของนั่งร้านจะต้องมั่นคง และวางอยู่ในลักษณะสมดุลย์ อย่าใช้พวกเศษวัสดุต่าง ๆ เช่น เศษอิฐ เศษไม้ รองขานั่งร้าน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; - &nbsp;นั่งร้านควรมีการโยงยึด ผูกติด หรือค้ำยันกับตัวอาคาร เพื่อป้องกันการ เอน ล้ม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - &nbsp;นั่งร้านที่สูงกว่า 2.00 เมตร จะต้องมีราวกันตก<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; - &nbsp;นั่งร้านที่สร้างด้วยไม้จะต้องใช้ไม้ที่ไม่ผุเปื่อย ไม่มีรอยร้าว หรือชำรุดอื่นๆ ที่จะทำให้ขาดความแข็งแรงทนทาน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - &nbsp;การทำนั่งร้านแบบเสาเรียงเดี่ยว กรณีที่ใช้ไม้ไผ่เป็นเสาควรตั้งให้ห่างกันไม่เกิน 1.50 เมตร ให้ใช้ไม้ไผ่ทำคานผูกติดกับเสาทุกต้น เมื่อตั้งเสาแล้วใช้ไม้ไผ่ทะแยงมุม ไม่เกิน 45 องศา กับแนวราบ<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ที่กล่าวมานี้เป็นตัวอย่างส่วนหนึ่งของแบบนั่งร้าน ซึ่งควรปฏิบัติกันในงานก่อสร้าง ซึ่งรายละเอียดอาจศึกษาได้จาก ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานก่อสร้าง(นั่งร้าน)<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นอกจากนี้จะต้องมีการบำรุง ดูแลรักษาสภาพการใช้งานของนั่งร้านอยู่อย่างสม่ำเสมอ โดยนั่งร้านทุกชนิดจะต้องมีการตรวจตราทุกอาทิตย์ หากมีพายุฝน แผ่นดินไหว หรือเหตุที่ทำให้นั่งร้านเสียสมดุลย์ หรือคลาดเคลื่อนไป ต้องมีการตรวจสภาพเสมอ<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; และที่สำคัญู คือ พนักงานทุกคนจะต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล เช่น หมวกนิรภัยบางครั้งอาจต้องใช้เข็มขัดนิรภัยด้วย<br /> <br /> <strong>หลักการในการออกแบบนั่งร้าน</strong></p> <p align="left"> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. &nbsp;เลือกชนิดของนั่งร้านให้เหมาะสมกับอาคาร และความสะดวกในการทำงาน เช่น อาคารสูง ๆ ควรใช้นั่งร้านเหล็กเสาเรียงคู่ อาคารเตี้ย ๆ การใช้งานในช่วงระยะสั้น ๆ ควรใช้ไม้ไผ่เสาเรียงเดี่ยว หรืออาจจะผสมดัดแปลง เพื่อความสะดวกในการสร้าง หรือประหยัดค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ควรอยู่ในดุลยพินิจของวิศวกร<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. &nbsp;คิดหน่วยแรงที่เกิดขึ้นในชั้นต่าง ๆ ของนั่งร้าน โดยคิดน้ำหนักของนั่งร้านให้เป็นไปตามกฎกระทรวงมหาดไทย เช่น 150 กิโลกรัมต่อตารางเมตร<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.&nbsp; การออกแบบฐานรองรับ สมมุติว่า Bearing ในกรุงเทพมหานครใช้ 2 ตันต่อตารางเมตร ในกรณีฐานแผ่ ไม่สามารถรับน้ำหนักนั่งร้าน เสาต้องออกแบบเป็นตั้งบนเข็ม ค่า C=600 กิโลกรัมต่อตารางเมตร สำหรับดินในกรุงเทพ ฯ<br /> &nbsp;</p> <p align="left"> &nbsp;<strong>การสร้างฐานนั่งร้าน</strong></p> <p align="left"> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ฐานรองรับนั่งร้านควรพิจารณาถึงความมั่นคงแข็งแรงของดินที่จะรองรับนั่งร้าน ว่าแข็งแรงเพียงพอที่จะรองรับน้ำหนักบรรทุกที่ถ่ายลงมาจากเสานั่งร้าน โดยมีส่วนความปลอดภัยเพียงพอหรือไม่ ขนาดของฐานควรออกแบบให้สัมพันธ์กับความสามารถของดินที่จะรับน้ำหนัก เช่น ดินเหนียว ที่มีความสามารถในการรับน้ำหนัก 2&nbsp; ตันต่อตารางเมตร โดยมีส่วนความปลอดภัย 2 ตัน หากน้ำหนักจากเสานั่งร้านรวมกันแล้วได้ 1 ตัน ก็ควรจัดขนาดฐานให้มีพื้นที่รวม 1 ตารางเมตรเป็นอย่างน้อย เพื่อให้ได้ส่วนความปลอดภัยในการรับน้ำหนัก 2 ตัน เป็นต้น หากไม่สามารถทำได้เนื่องจากเหตุผลใด เช่น สถานที่ไม่อำนวย หรือสภาพดินอ่อนก็ควรตอกเสาเข็มรองรับให้มีจำนวนเพียงพอ วัสดุที่ใช้รองรับเป็นฐานนั่งร้านควรออกแบบให้แรงเลื่อนได้พอเพียง และไม่แอ่นตัวเมื่อรับน้ำหนัก ในกรณีทีใช้ฐานแผ่วางบนดิน ควรลอกหน้าดินออกเสียก่อน<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความแข็งแรงของฐานรองรับควรออกแบบให้มีความแข็งแรงเท่า ๆ กัน หากจุดใดจุดหนึ่งมีความแข็งแรงด้อยกว่า อาจทำให้เกิดการทรุดตัวไม่เท่ากัน จนอาจเกิดการวิบัติได้</p> <p style="text-align: right;"> <br /> <strong>ความรู้จาก สำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน</strong></p> Mon, 30 Jan 2012 22:32:00 +0700